Skip to content

ความเปลี่ยนแปลง

View changes from to


On 9 มีนาคม ค.ศ. 2022 14 นาฬิกา 25 นาที 58 วินาที +0700, Gravatar Web Admin:
  • Updated description of โครงการอัตราอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงของการติดเชื้อชิคุนกุนยาในกำลังพลทหารที่ปฏิบัติ หน้าที่รักษาความสงบในจังหวัดชายแดนใต้ของประเทศไทย from

    # วัตถุประสงค์ 1. เพื่อหาอัตราอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงของการติดเชื้อไวรัสชิคุนกุนยาในกาลังพลทหารที่ปฏิบัติหน้าที่รักษาความสงบในจังหวัดชายแดนใต้ 2. เพื่อหาผลลัพธ์ทางคลินิกของการติดเชื้อไวรัสชิคุนกุนยาในกาลังพลทหารที่ปฏิบัติหน้าที่รักษาความสงบในจังหวัดชายแดนใต้ # การวิเคราะห์ 1. อธิบายเชิงพรรณนาลักษณะทั่วไปของประชากร, สถานะภาพทางสุขภาพ และผลการตรวจตัวอย่างเลือดทางห้องปฏิบัติการ โดยการใช้สถิติ จานวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และมัธยฐาน ผลการศึกษาจะแสดงอัตราอุบัติการณ์แบบ Incidence rate จาแนกตามตัวแปรทางด้านบุคคล เวลา และพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ ผลการศึกษาจะรวมถึงการระบุสัดส่วนของผู้ป้วยที่ติดเชื้อลาม่แสดงอาการ และสัดส่วนของผู้ที่แสดงอาการจาแนกตามระดับความรุนแรงของอาการที่เกี่ยวกับการอักเสบเรื้อรังของข้อ จากระดับคะแนนของแบบเก็บข้อมูลสุขภาพแบบทั่วไป EQ-5D และ SF-36 และแบบเฉพาะ AUSCAN® หรือ WOMAC® 2. การหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยเสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสชิคุนกุนยากับผลการตรวจพบระดับแอนติบอดีต่อเชื้อไวรัสชิคุนกุนยา จะใช้การคานวณหา incidence rate ratio และใช้ Poisson Regression Model ในการระบุ ถึง independent effect # ระยะเวลา การวิจัยนี้เป็นการศึกษา Retospective Cohort Study เพื่อหาอัตราอุบัติการณ์ของโรคชิคุนกุนยาและเป็นการติดตามสถานการณ์การติดเชื้อไวรัสชิคุนกุนยาของกาลังพลทหารที่ปฏิบัติหน้าที่รักษาความสงบในจังหวัดชายแดนใต้โดยเก็บข้อมูลลักษณะของประชากร ปัจจัยเสี่ยง ลักษณะอาการและอาการแสดง และเจาะเลือดตรวจทางซีโรโลยีด้วยวิธี ELISA และ Hemagglutinin Inhibition (HI) ร่วมกับตรวจวิเคราะห์หาสารพันธุกรรมของเชื้อไวรัสชิคุนกุนยาด้วยวิธี Polymerase Chain Reaction (PCR) ซึ่งมีพื้นที่การดาเนินโครงการวิจัยคือ พื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ที่มีกาลังพลทหารปฏิบัติหน้าที่รักษาความสงบ มีระยะเวลาดาเนินโครงการนาน 1 ปี 6 เดือน
    to
    # วัตถุประสงค์ 1. เพื่อหาอัตราอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงของการติดเชื้อไวรัสชิคุนกุนยาในกาลังพลทหารที่ปฏิบัติหน้าที่รักษาความสงบในจังหวัดชายแดนใต้ 2. เพื่อหาผลลัพธ์ทางคลินิกของการติดเชื้อไวรัสชิคุนกุนยาในกาลังพลทหารที่ปฏิบัติหน้าที่รักษาความสงบในจังหวัดชายแดนใต้ # การวิเคราะห์ 1. อธิบายเชิงพรรณนาลักษณะทั่วไปของประชากร, สถานะภาพทางสุขภาพ และผลการตรวจตัวอย่างเลือดทางห้องปฏิบัติการ โดยการใช้สถิติ จานวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และมัธยฐาน ผลการศึกษาจะแสดงอัตราอุบัติการณ์แบบ Incidence rate จาแนกตามตัวแปรทางด้านบุคคล เวลา และพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ ผลการศึกษาจะรวมถึงการระบุสัดส่วนของผู้ป้วยที่ติดเชื้อลาม่แสดงอาการ และสัดส่วนของผู้ที่แสดงอาการจาแนกตามระดับความรุนแรงของอาการที่เกี่ยวกับการอักเสบเรื้อรังของข้อ จากระดับคะแนนของแบบเก็บข้อมูลสุขภาพแบบทั่วไป EQ-5D และ SF-36 และแบบเฉพาะ AUSCAN® หรือ WOMAC® 2. การหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยเสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสชิคุนกุนยากับผลการตรวจพบระดับแอนติบอดีต่อเชื้อไวรัสชิคุนกุนยา จะใช้การคานวณหา incidence rate ratio และใช้ Poisson Regression Model ในการระบุ ถึง independent effect # ระยะเวลา การวิจัยนี้เป็นการศึกษา Retospective Cohort Study เพื่อหาอัตราอุบัติการณ์ของโรคชิคุนกุนยาและเป็นการติดตามสถานการณ์การติดเชื้อไวรัสชิคุนกุนยาของกาลังพลทหารที่ปฏิบัติหน้าที่รักษาความสงบในจังหวัดชายแดนใต้โดยเก็บข้อมูลลักษณะของประชากร ปัจจัยเสี่ยง ลักษณะอาการและอาการแสดง และเจาะเลือดตรวจทางซีโรโลยีด้วยวิธี ELISA และ Hemagglutinin Inhibition (HI) ร่วมกับตรวจวิเคราะห์หาสารพันธุกรรมของเชื้อไวรัสชิคุนกุนยาด้วยวิธี Polymerase Chain Reaction (PCR) ซึ่งมีพื้นที่การดาเนินโครงการวิจัยคือ พื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ที่มีกาลังพลทหารปฏิบัติหน้าที่รักษาความสงบ มีระยะเวลาดาเนินโครงการนาน 1 ปี 6 เดือน #การขอเข้าถึงแบบสอบถาม #กดที่ ปุ่ม ร้องขอข้อมูล ที่ หน้า [แบบสอบถาม](http://bigdata.pcm.ac.th/organization/009crf)